ARTD 3307- Animation Design
บล็อกนำเสนอผลงานของวิชา การออกแบบ อนิเมชั่น
วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2559
งานชิ้นที่ 4 ทำ Title แนะนำตัวเอง
อาจารย์ให้ทำคลิปแนะนำตัวเองความยาว 10 วินาทีโดยใช้โปรแกรม Adobe After Effects ในการทำ
วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2559
งานชิ้นที่ 3 Flipbook
(Flip Book) หรือเรียกง่ายๆว่า สมุดดีด คือการวาดภาพเคลื่อนไหวอย่างง่าย ลงในกระดาษแผ่นเล็กๆ แล้วนำภาพที่วาดทั้งหมดมาเย็บต่อกันเป็นเล่ม การสร้าง Flip Book นี้เป็นการศึกษาทดลองการสร้างภาพเคลื่อนไหวในขั้นพื้นฐานก่อนที่จะนำไปประยุกต์ เช่น การศึกษาการกระโดดของคน,การเตะ,ต่อย 9ล9 เลือกทำเพียงช่วงหนึ่งของกิจกรรมนั้นๆ
การทำ Flip Book คือการนำหลักทฤษฎีภาพติดตามาใช้ เมื่อเราเปิดภ่พด้วยความเร็ว (ดีดสมุด) จะทำให้เราเห็นว่า ภาพนิ่งทุกภาพที่วาดนั้น เกิดการเคลื่อนไหวได้ กระดาษที่ใช้ทำ Flip Book ควรเป็นกระดาษปอนด์ที่มีความหนาพอควร เพื่อความคงทนในการเก็บรักษา
ที่มา http://hornsama.tripod.com/flipbook.htm
วิธีการทำ
1.ปากกา ดินสอ สี (แล้วแต่ความถนัด)
2.กระดาษปอนด์ ตัดเป็นแผ่นเท่าๆกัน ตามจำนวนที่ต้องการ (ซัก25แผ่นก็ได้) หรือ จะซื้อมาเป็นเล่มที่ทำ เรียบร้อยมาแล้วก็ได้
3.จินตนาการอันแสนบรรเจิดของคุณ
การทำ Flip Book คือการนำหลักทฤษฎีภาพติดตามาใช้ เมื่อเราเปิดภ่พด้วยความเร็ว (ดีดสมุด) จะทำให้เราเห็นว่า ภาพนิ่งทุกภาพที่วาดนั้น เกิดการเคลื่อนไหวได้ กระดาษที่ใช้ทำ Flip Book ควรเป็นกระดาษปอนด์ที่มีความหนาพอควร เพื่อความคงทนในการเก็บรักษา
ที่มา http://hornsama.tripod.com/flipbook.htm
วิธีการทำ
1.ปากกา ดินสอ สี (แล้วแต่ความถนัด)
2.กระดาษปอนด์ ตัดเป็นแผ่นเท่าๆกัน ตามจำนวนที่ต้องการ (ซัก25แผ่นก็ได้) หรือ จะซื้อมาเป็นเล่มที่ทำ เรียบร้อยมาแล้วก็ได้
3.จินตนาการอันแสนบรรเจิดของคุณ
วีดีโอแสดงการทำงาน
งานชิ้ที่ 2 Zoetrope
การสร้างภาพอนิเมชั่นแบบ Zoetrope
Zoetrope คือ อุปกรณ์ที่ใช้แสดงภาพลวงตา ให้มีลักษณะเป็นภาพเคลื่อนไหว อาศัยหลักการภาพติดตา เป็นรากฐานของการสร้างแอนิเมชัน
วิลเลี่ยม จอร์จ ฮอร์เนอร์ จากประเทศอังกฤษ คือบุคคลแรกที่พยายามสร้างภาพเคลื่อนไหว เพื่อให้ผู้ชมมากกว่าหนึ่งคนสามารถเห็นภาพได้ในเวลาเดียวกันด้วยเครื่อง Zoetrope มีการพัฒนาเป็นการฉายภาพยนต์ในเวลาต่อมา โดยนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส เอมิล เรย์เนาด์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติการฉายภาพยนต์ zoetrope ยังเป็นหนึ่งในเร็วของเล่นภาพยนตร์และเป็นที่นิยมมากในครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 จะประกอบด้วยถัง slotted ผ่านกระดาษแผ่นหนึ่ง views เคลื่อนไหวหนัง แต่ มักจะทำจากไม้หรือถังโลหะ
สำหรับ Zoetrope นี้เป็นวิธีการของการทำภาพเคลื่อนไหวในสมัยก่อนโดยการนำเอาภาพต่อเนื่องกันมาต่อกัน และวางบนวัสดุที่มันเป็นวงล้อกลมๆโดยการติดภาพทั้งหมดไว้ข้างในและตรงกลาง นี้จะมีกระจก เวลาจะเล่นก็คือหมุนวงล้อแล้ว ให้มองไปที่กระจก ภาพที่ออกมาจากเงาสะท้อนกระจกจะกลางเป็นภาพต่อเนื่องเหมือนกับภาพเคลื่อนไหว วิธีนี้เป็นกำเนิดของเครื่องฉายหนังที่ใช้ฟิล์มในโรงหนัง กลับมาที่วีดีโอที่นำเสนอไป เป็นการทำโฆษณาที่ดิฉันได้พบ แล้วเผอิญเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ดิฉันก็กำลังศึกาษาเกี่ยวกับเรื่องZoetrope พอดี เลยเอามาฝากค่ะ คือจากโฆษณาข้างตัน เค้าเอาวิธีการนี้มาใช้อธิบายเทคโนโลยี่ อันลำสมัยของ โทรทัศน์ โดยเน้นไปที่ความไหลลื่นของภาพ โดยใช้วิธีการดั้งเดิมคือการเน้นความละเอียดของจำนวนภาพ ภาพยิ่งเก็บรายละเอียดมาก ภาพที่ได้จะยิ่งชัดมาก ซึ่งเขาก็นำไปเปรียบเทียบกับโทรทัศน์ของเขาว่าละเอียด คม ชัด ซึ่งในงานนี้ได้ใช้ กาก้านักฟุตบอลชาว บราซิลมาเดาะบอลให้ผู้ชมดู ซึ่งเป็นการนำเสนอที่น่าสนใจ เรียกร้องท่านผู้ชมได้เป็นอย่างดีเลยที่เดียว
Zoetrope คือ อุปกรณ์ที่ใช้แสดงภาพลวงตา ให้มีลักษณะเป็นภาพเคลื่อนไหว อาศัยหลักการภาพติดตา เป็นรากฐานของการสร้างแอนิเมชัน
วิลเลี่ยม จอร์จ ฮอร์เนอร์ จากประเทศอังกฤษ คือบุคคลแรกที่พยายามสร้างภาพเคลื่อนไหว เพื่อให้ผู้ชมมากกว่าหนึ่งคนสามารถเห็นภาพได้ในเวลาเดียวกันด้วยเครื่อง Zoetrope มีการพัฒนาเป็นการฉายภาพยนต์ในเวลาต่อมา โดยนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส เอมิล เรย์เนาด์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติการฉายภาพยนต์ zoetrope ยังเป็นหนึ่งในเร็วของเล่นภาพยนตร์และเป็นที่นิยมมากในครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 จะประกอบด้วยถัง slotted ผ่านกระดาษแผ่นหนึ่ง views เคลื่อนไหวหนัง แต่ มักจะทำจากไม้หรือถังโลหะ
สำหรับ Zoetrope นี้เป็นวิธีการของการทำภาพเคลื่อนไหวในสมัยก่อนโดยการนำเอาภาพต่อเนื่องกันมาต่อกัน และวางบนวัสดุที่มันเป็นวงล้อกลมๆโดยการติดภาพทั้งหมดไว้ข้างในและตรงกลาง นี้จะมีกระจก เวลาจะเล่นก็คือหมุนวงล้อแล้ว ให้มองไปที่กระจก ภาพที่ออกมาจากเงาสะท้อนกระจกจะกลางเป็นภาพต่อเนื่องเหมือนกับภาพเคลื่อนไหว วิธีนี้เป็นกำเนิดของเครื่องฉายหนังที่ใช้ฟิล์มในโรงหนัง กลับมาที่วีดีโอที่นำเสนอไป เป็นการทำโฆษณาที่ดิฉันได้พบ แล้วเผอิญเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ดิฉันก็กำลังศึกาษาเกี่ยวกับเรื่องZoetrope พอดี เลยเอามาฝากค่ะ คือจากโฆษณาข้างตัน เค้าเอาวิธีการนี้มาใช้อธิบายเทคโนโลยี่ อันลำสมัยของ โทรทัศน์ โดยเน้นไปที่ความไหลลื่นของภาพ โดยใช้วิธีการดั้งเดิมคือการเน้นความละเอียดของจำนวนภาพ ภาพยิ่งเก็บรายละเอียดมาก ภาพที่ได้จะยิ่งชัดมาก ซึ่งเขาก็นำไปเปรียบเทียบกับโทรทัศน์ของเขาว่าละเอียด คม ชัด ซึ่งในงานนี้ได้ใช้ กาก้านักฟุตบอลชาว บราซิลมาเดาะบอลให้ผู้ชมดู ซึ่งเป็นการนำเสนอที่น่าสนใจ เรียกร้องท่านผู้ชมได้เป็นอย่างดีเลยที่เดียว
วีดีโอแสดงการทำงาน
งานชิ้นที่ 1 Thaumatrope
วิธีการทำ
นำแผ่นกระดาษมาตัดเป็นวงกลมขนาดแล้วแต่ที่ต้องการมาให้ได้ 2 แผ่น นำไปทากาวแล้วนำมาประกบกัน แล้วทำการวาดภาพที่เราต้องการ โดยการวาดกระดาษสองชิ้นนี้ ต้องวาดกลับหัว เพื่อให้เวลาเราพลิกหมุน จะได้เห็นมุมมองสลับสับเปลี่ยนให้เหมือนภาพเคลื่อนไหว เมื่อวาดรูปที่ต้องการแล้วให้เราทำการระบายสีภาพที่วาดเพิ่มเพิ่มลูกเล่นของงานหรือไม่ก็ได้แล้วแต่ความต้องการของคนทำ ทำการเจาะรูด้านข้างของวงกลม แล้วนำเชือกมาร้อยเพื่อให้สามารถทำการหมุนกระดาษได้ แค่นี้ก็เสร็จเรียบร้อย
อุปกรณ์ในการทำ
ภาพที่ 1 กระดาษแข็งสีขาว
นำแผ่นกระดาษมาตัดเป็นวงกลมขนาดแล้วแต่ที่ต้องการมาให้ได้ 2 แผ่น นำไปทากาวแล้วนำมาประกบกัน แล้วทำการวาดภาพที่เราต้องการ โดยการวาดกระดาษสองชิ้นนี้ ต้องวาดกลับหัว เพื่อให้เวลาเราพลิกหมุน จะได้เห็นมุมมองสลับสับเปลี่ยนให้เหมือนภาพเคลื่อนไหว เมื่อวาดรูปที่ต้องการแล้วให้เราทำการระบายสีภาพที่วาดเพิ่มเพิ่มลูกเล่นของงานหรือไม่ก็ได้แล้วแต่ความต้องการของคนทำ ทำการเจาะรูด้านข้างของวงกลม แล้วนำเชือกมาร้อยเพื่อให้สามารถทำการหมุนกระดาษได้ แค่นี้ก็เสร็จเรียบร้อย
อุปกรณ์ในการทำ
ภาพที่ 1 กระดาษแข็งสีขาว
ภาพที่ 2 เขียนวงกลมบนกระดาษ
ภาพที่ 3 ปากกาหมึก ดินสอ ยางลบ
ภาพที่ 4 วาดภาพลงในกระดาษ
ภาพที่ 4.1 อีกด้านของกระดาษ
ภาพที่ 5 เมื่อวาดรูปเสร็จแล้วให้เจาะรู้ด้านละข้างเพื่อร้อยเชือกสำหรับหมุน
ภาพที่ 5.1 อีกด้านของกระดาษ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)